สุตตันตมาติกา ๔๒ ทุกะ
๑. วิชชาภาคีทุกะ
- ธรรมเป็นไปในส่วนวิชชา
- ธรรมเป็นไปในส่วนอวิชชา ๒. วิชชูปมทุกะ - ธรรมเหมือนฟ้าแลบ - ธรรมเหมือนฟ้าผ่า
๓. พาลทุกะ - ธรรมทำให้เป็นพาล - ธรรมทำให้เป็นบัณฑิต
๔. กัณหทุกะ - ธรรมดำ - ธรรมขาว
๕. ตปนิยทุกะ
- ธรรมทำให้เร่าร้อน
- ธรรมไม่ทำให้เร่าร้อน
๖. อธิวจนทุกะ
- ธรรมเป็นชื่อ
- ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นชื่อ
๗. นิรุตติทุกะ
- ธรรมเป็นนิรุตติ
- ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นนิรุตติ
๘. ปัญญัติติทุกะ
- ธรรมเป็นบัญญัติ
- ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นบัญญัติ
๙. นามรูปทุกะ
- นามธรรม
- รูปธรรม
๑๐. อวิชชาทุกะ
- ความไม่รู้แจ้ง
- ความปรารถนาภพ
๑๑. ภวทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นว่าเกิด
- ความเห็นว่าไม่เกิด
๑๒. สัสสตทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นว่าเที่ยง
- ความเห็นว่าสูญ
๑๓. อันตวาทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นว่ามีที่สุด
- ความเห็นว่าไม่มีที่สุด
๑๔. ปุพพันตานุทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นปรารภส่วนอดีต
- ความเห็นปรารภส่วนอนาคต
๑๕. อหิริกทุกะ
- ความไม่ละอาย
- ความไม่เกรงกลัว
๑๖. หิริทุกะ
- ความละอาย
- ความเกรงกลัว
๑๗. โทวจัสสตาทุกะ
- ความเป็นผู้ว่ายาก
- ความเป็นผู้มีมิตรชั่ว
๑๘. โสวจัสสตาทุกะ
- ความเป็นผู้ว่าง่าย
- ความเป็นผู้มีมิตรดี
๑๙. อาปัตติกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในอาบัติ
- ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากอาบัติ
๒๐. สมาปัตติกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในสมาบัติ
- ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาบัติ
๒๑. ธาตุกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในธาตุ
- ความเป็นผู้ฉลาดในการพิจารณา
๒๒. อายตนกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในอายตนะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท
๒๓. ฐานกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในอฐานะ
๒๔. อาชชวทุกะ
- ความซื่อตรง
- ความอ่อนโยน
๒๕. ขันติทุกะ
- ความอดทน
- ความสงบเสงี่ยม
๒๖. สาขัลยทุ
- ความเป็นผู้มีวาจาอ่อนหวาน
- การปฏิสันถาร
๒๗. อินทริยอคุตตทวารตาทุกะ
- ความเป็นผู้ไม่สำรวมในอินทรีย์ ๖
- ความเป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนาหาร
๒๘. อินทริยคุตตทวารตาทุกะ
- ความเป็นผู้สำรวมในอินทรีย์ ๖
- ความเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนาหาร
๒๙. มุฏฐสัจจทุกะ
- ความเป็นผู้ไม่มีสติ
- ความเป็นผู้ไม่มีสัมปชัญญะ
๓๐. สติทุกะ
- สติ
- สัมปชัญญะ
๓๑. ปฏิสังขานพลทุกะ
- กำลังคือการพิจารณา
- กำลังคือภาวนา
๓๒. สมถฑุกะ
- สมถะ
- วิปัสสนา
๓๓. นิมิตตทุกะ
- นิมิตคือสมถะ
- นิมิตคือความเพียร
๓๔. ปัคคาหทุกะ
- ความเพียร
- ความไม่ฟุ้งซ่าน
๓๕. วิปัตติทุกะ
- ความวิบัติแห่งศีล
- ความวิบัติแห่งทิฏ
๓๖. สัมปทาทุกะ
- ความสมบูรณ์แห่งศีล
- ความสมบูรณ์แห่งทิฏฐิ
๓๗. วิสุทธิทุกะ
- ความหมดจดแห่งศีล
- ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
๓๘. ทิฏฐิวิสุทธิทุกะ
- ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
- ความเพียรแห่งบุคคลผู้มีทิฏฐิอันหมดจด
๓๙. สังเวคทุกะ
- ความสลดใจในฐานะเป็นที่ตั้งแห่งความสลดใจ
- ความพยายามโดยแยบคายของบุคคล
ผู้มีความสลดใจ
๔๐. อสันตุฏฐตาทุกะ
- ความไม่รู้จักอิ่มในกุศลธรรม
- ความไม่ท้อถอยในความพยายาม
๔๑. วิชชาทุกะ
- ความรู้แจ้ง
- ความหลุดพ้น
๔๒. ขยญาณทุกะ
- ญาณในอริยมรรค
- ญาณในอริยผล
สุตตันตมาติกา ๔๒ ทุกะ จบ
มาติกา จบ
----------
- ธรรมเป็นไปในส่วนอวิชชา ๒. วิชชูปมทุกะ - ธรรมเหมือนฟ้าแลบ - ธรรมเหมือนฟ้าผ่า
๓. พาลทุกะ - ธรรมทำให้เป็นพาล - ธรรมทำให้เป็นบัณฑิต
๔. กัณหทุกะ - ธรรมดำ - ธรรมขาว
๕. ตปนิยทุกะ
- ธรรมทำให้เร่าร้อน
- ธรรมไม่ทำให้เร่าร้อน
๖. อธิวจนทุกะ
- ธรรมเป็นชื่อ
- ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นชื่อ
๗. นิรุตติทุกะ
- ธรรมเป็นนิรุตติ
- ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นนิรุตติ
๘. ปัญญัติติทุกะ
- ธรรมเป็นบัญญัติ
- ธรรมเป็นเหตุของธรรมเป็นบัญญัติ
๙. นามรูปทุกะ
- นามธรรม
- รูปธรรม
๑๐. อวิชชาทุกะ
- ความไม่รู้แจ้ง
- ความปรารถนาภพ
๑๑. ภวทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นว่าเกิด
- ความเห็นว่าไม่เกิด
๑๒. สัสสตทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นว่าเที่ยง
- ความเห็นว่าสูญ
๑๓. อันตวาทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นว่ามีที่สุด
- ความเห็นว่าไม่มีที่สุด
๑๔. ปุพพันตานุทิฏฐิทุกะ
- ความเห็นปรารภส่วนอดีต
- ความเห็นปรารภส่วนอนาคต
๑๕. อหิริกทุกะ
- ความไม่ละอาย
- ความไม่เกรงกลัว
๑๖. หิริทุกะ
- ความละอาย
- ความเกรงกลัว
๑๗. โทวจัสสตาทุกะ
- ความเป็นผู้ว่ายาก
- ความเป็นผู้มีมิตรชั่ว
๑๘. โสวจัสสตาทุกะ
- ความเป็นผู้ว่าง่าย
- ความเป็นผู้มีมิตรดี
๑๙. อาปัตติกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในอาบัติ
- ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากอาบัติ
๒๐. สมาปัตติกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในสมาบัติ
- ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาบัติ
๒๑. ธาตุกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในธาตุ
- ความเป็นผู้ฉลาดในการพิจารณา
๒๒. อายตนกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในอายตนะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท
๒๓. ฐานกุสลตาทุกะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะ
- ความเป็นผู้ฉลาดในอฐานะ
๒๔. อาชชวทุกะ
- ความซื่อตรง
- ความอ่อนโยน
๒๕. ขันติทุกะ
- ความอดทน
- ความสงบเสงี่ยม
๒๖. สาขัลยทุ
- ความเป็นผู้มีวาจาอ่อนหวาน
- การปฏิสันถาร
๒๗. อินทริยอคุตตทวารตาทุกะ
- ความเป็นผู้ไม่สำรวมในอินทรีย์ ๖
- ความเป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนาหาร
๒๘. อินทริยคุตตทวารตาทุกะ
- ความเป็นผู้สำรวมในอินทรีย์ ๖
- ความเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนาหาร
๒๙. มุฏฐสัจจทุกะ
- ความเป็นผู้ไม่มีสติ
- ความเป็นผู้ไม่มีสัมปชัญญะ
๓๐. สติทุกะ
- สติ
- สัมปชัญญะ
๓๑. ปฏิสังขานพลทุกะ
- กำลังคือการพิจารณา
- กำลังคือภาวนา
๓๒. สมถฑุกะ
- สมถะ
- วิปัสสนา
๓๓. นิมิตตทุกะ
- นิมิตคือสมถะ
- นิมิตคือความเพียร
๓๔. ปัคคาหทุกะ
- ความเพียร
- ความไม่ฟุ้งซ่าน
๓๕. วิปัตติทุกะ
- ความวิบัติแห่งศีล
- ความวิบัติแห่งทิฏ
๓๖. สัมปทาทุกะ
- ความสมบูรณ์แห่งศีล
- ความสมบูรณ์แห่งทิฏฐิ
๓๗. วิสุทธิทุกะ
- ความหมดจดแห่งศีล
- ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
๓๘. ทิฏฐิวิสุทธิทุกะ
- ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
- ความเพียรแห่งบุคคลผู้มีทิฏฐิอันหมดจด
๓๙. สังเวคทุกะ
- ความสลดใจในฐานะเป็นที่ตั้งแห่งความสลดใจ
- ความพยายามโดยแยบคายของบุคคล
ผู้มีความสลดใจ
๔๐. อสันตุฏฐตาทุกะ
- ความไม่รู้จักอิ่มในกุศลธรรม
- ความไม่ท้อถอยในความพยายาม
๔๑. วิชชาทุกะ
- ความรู้แจ้ง
- ความหลุดพ้น
๔๒. ขยญาณทุกะ
- ญาณในอริยมรรค
- ญาณในอริยผล
สุตตันตมาติกา ๔๒ ทุกะ จบ
มาติกา จบ
----------
Comments
Post a Comment