- ธรรมเป็นเหตุ
- ธรรมไม่เป็นเหตุ
๒. สเหตุทุกะ
- ธรรมมีเหตุ
- ธรรมไม่มีเหตุ
๓. เหตุสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุ
- ธรรมวิปปยุตจากเหตุ
๔. เหตุสเหตุกทุกะ
- ธรรมเป็นเหตุและมีเหตุ
- ธรรมมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
๕. เหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
- ธรรมสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
๖. นเหตุสเหตุกทุกะ
- ธรรมไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
- ธรรมไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุ
=================================
หมวดที่ ๒
จูฬันตรทุกะ มี ๗ ทุกะ ๑. สัปปัจจยทุกะ - ธรรมมีปัจจัย - ธรรมไม่มีปัจจัย ๒. สังขตทุกะ - ธรรมเป็นสังขตะ - ธรรมเป็นอสังขตะ ๓. สนิทัสสนทุกะ - ธรรมที่เห็นได้ - ธรรมที่เห็นไม่ได้
๔. สัปปฏิฆทุกะ
- ธรรมที่กระทบได้
- ธรรมที่กระทบไม่ได้๕
๕. รูปิทุกะ
- ธรรมเป็นรูป
- ธรรมไม่เป็นรูป
๖. โลกิยทุกะ
- ธรรมเป็นโลกิยะ
- ธรรมเป็นโลกุตตระ
๗. เกนจิวิญเญยยทุกะ
- ธรรมที่จิตบางอย่างรู้ได้
- ธรรมที่จิตบางอย่างรู้ไม่ได้
=================================
หมวดที่ ๓ (อาสวะ)
อาสวโคจฉกะ มี ๖ ทุกะ ๑. อาสวทุกะ - ธรรมเป็นอาสวะ - ธรรมไม่เป็นอาสวะ ๒. สาสวทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ ๓. อาสวสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ - ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
๔. อาสวสาสวทุกะ
- ธรรมเป็นอาสวะ และเป็นอารมณ์ของอาสวะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
๕. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นอาสวะ และสัมปยุตด้วยอาสวะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
๖. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
แต่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
- ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
และไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
=================================
=================================
หมวดที่ ๒
จูฬันตรทุกะ มี ๗ ทุกะ ๑. สัปปัจจยทุกะ - ธรรมมีปัจจัย - ธรรมไม่มีปัจจัย ๒. สังขตทุกะ - ธรรมเป็นสังขตะ - ธรรมเป็นอสังขตะ ๓. สนิทัสสนทุกะ - ธรรมที่เห็นได้ - ธรรมที่เห็นไม่ได้
๔. สัปปฏิฆทุกะ
- ธรรมที่กระทบได้
- ธรรมที่กระทบไม่ได้๕
๕. รูปิทุกะ
- ธรรมเป็นรูป
- ธรรมไม่เป็นรูป
๖. โลกิยทุกะ
- ธรรมเป็นโลกิยะ
- ธรรมเป็นโลกุตตระ
๗. เกนจิวิญเญยยทุกะ
- ธรรมที่จิตบางอย่างรู้ได้
- ธรรมที่จิตบางอย่างรู้ไม่ได้
=================================
หมวดที่ ๓ (อาสวะ)
อาสวโคจฉกะ มี ๖ ทุกะ ๑. อาสวทุกะ - ธรรมเป็นอาสวะ - ธรรมไม่เป็นอาสวะ ๒. สาสวทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ ๓. อาสวสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ - ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
๔. อาสวสาสวทุกะ
- ธรรมเป็นอาสวะ และเป็นอารมณ์ของอาสวะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
๕. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นอาสวะ และสัมปยุตด้วยอาสวะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะ
๖. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
แต่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
- ธรรมวิปปยุตจากอาสวะ
และไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
=================================
หมวดที่ ๔(สังโยชน์) มี ๖ ทุกะ คือ
๑. สัญโญชนทุกะ-
- ธรรมเป็นสัญโญชน์
- ธรรมไม่เป็นสัญโญชน์
๒. สัญโญชนิยทุกะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
- ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
๓. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
- ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์๔
๔. สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ
- ธรรมเป็นสัญโญชน์
และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
- ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
แต่ไม่เป็นสัญโญชน์
๕. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นสัมญโญชน์
และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
- ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
แต่ไม่เป็นสัญโญชน์
๖. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์
แต่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
- ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์
และไม่เป็นอารมณ์ ของสัญโญชน์
============================
หมวดที่ ๕ (คันถะ) มี ๖ ทุกะ คือ ๑. คันถทุกะ - ธรรมเป็นคันถะ - ธรรมไม่เป็นคันถะ ๒. คันถนิยทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ ๓. คันถสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ - ธรรมวิปปยุตจากคันถะ
๔. คันถคันถนิยทุกะ
- ธรรมเป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ แต่ไม่เป็นคันถะ
๕. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นคันถะ และสัมปยุตด้วยคันถะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ แต่ไม่เป็นคันถะ
๖. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากคันถะ แต่เป็นอารมณ์ของคันถะ
- ธรรมวิปปยุตจากคันถะ
และไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ
=========================
หมวดที่ ๖ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. โอฆทุกะ
- ธรรมเป็นโอฆะ
- ธรรมไม่เป็นโอฆะ
๒. โอฆนิยทุกะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโอฆะ
- ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
๓. โอฆสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโอฆะ
- ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
๔. โอฆโอฆนิยทุกกะ
- ธรรมเป็นโอฆะและเป็นอารมณ์ของโอฆะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโอฆะแต่ไม่เป็นโอฆะ
๕. โอฆโอฆสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นโอฆะ และสัมปยุตด้วยโอฆะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโอฆะ แต่ไม่เป็นโอฆะ
๖. โอฆวิปปยุตตโอฆนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
แต่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
- ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
และไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
=========================
หมวดที่ ๗ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. โยคทุกะ
- ธรรมเป็นโยคะ
- ธรรมไม่เป็นโยคะ
๒. โยคนิยทุกะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโยคะ
- ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ
๓. โยคสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโยคะ
- ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
๔. โยคโยคนิยทุกะ
- ธรรมเป็นโยคะ และเป็นอารมณ์ของโยคะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโยคะ แต่ไม่เป็นโยคะ
๕. โยคโยคสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นโยคะ และสัมปยุตด้วยโยคะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโยคะ แต่ไม่เป็นโยคะ
๖. โยควิปปยุตตโยคนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
แต่เป็นอารมณ์ของโยคะ
- ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
และไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ
=========================
หมวดที่ ๘ นีวรณโคจฉกะ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. นีวรณทุกะ
- ธรรมนิวรณ์ - ธรรมไม่เป็นนิวรณ์ ๒. นีวรณิยทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ ๓. นีวรณสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์ - ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
๔. นีวรณนีวรณิยทุกะ
- ธรรมเป็นนิวรณ์ และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์
- ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์
๕. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์
- ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์
๖. นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์
- ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
และไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์
=========================
หมวดที่ ๙ ปรามาสโคจฉกะ มี ๕ ทุกะ คือ
๑. ปรามาสทุกะ - ธรรมเป็นปรามาสะ (ทิฏฐิ) - ธรรมไม่เป็นปรามาสะ ๒. ปรามัฏฐทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ ๓. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะ - ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
๔. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ
- ธรรมเป็นปรามาสะ และเป็นอารมณ์ของปรามาสะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ
แต่ไม่เป็นของปรามาสะ
๕. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
แต่เป็นอารมณ์ปรามาสะ
- ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
และไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ
=========================
หมวดที่ ๑๐ มหันตรทุกะ มี ๑๔ ทุกะ คือ
๑. สารัมมณทุกะ - ธรรมมีอารมณ์ - ธรรมไม่มีอารมณ์ ๒. จิตตทุกะ - ธรรมเป็นจิต - ธรรมไม่เป็นจิต
๓. เจตสิกทุกะ - ธรรมเป็นเจตสิก - ธรรมไม่เป็นเจตสิก
๔. จิตตสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยจิต - ธรรมวิปปยุตจากจิต
๕. จิตตสังสัฏฐทุกะ
- ธรรมเจือกับจิต
- ธรรมไม่เจือกับจิต
๖. จิตตสมุฏฐานทุกะ
- ธรรมมีจิตเป็นสมุฏฐาน
- ธรรมไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
๗. จิตตสหภูทุกะ
- ธรรมเกิดร่วมกับจิต
- ธรรมไม่เกิดร่วมกับจิต
๘. จิตตานุปริวัตติทุกะ
- ธรรมเกิดคล้อยตามจิต
- ธรรมไม่เกิดคล้อยตามจิต
๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ
- ธรรมเจือกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน
- ธรรมไม่เจือกับจิตและไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
๑๐. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ
- ธรรมเจือกับจิต มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และเกิดร่วมกับจิต
- ธรรมไม่เจือกับจิต ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และไม่เกิดร่วมกับจิต
๑๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ
- ธรรมเจือกับจิตเป็นสมุฏฐาน
และเกิดคล้อยตามจิต
- ธรรมไม่เจือกับจิต ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน และ
ไม่เกิดคล้อยตามจิต
๑๒. อัชฌัตติกทุกะ
- ธรรมเป็นภายใน
- ธรรมเป็นภายนอก
๑๓. อุปาทาทุกะ
- ธรรมอาศัยมหาภูตรูปเกิด
- ธรรมไม่อาศัยมหาภูตรูปเกิด
๑๔. อุปาทินนทุกะ
- ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหา
ทิฏฐิเข้ายึดครอง
- ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหา
ทิฏฐิไม่เข้ายึดครอง
========================
หมวดที่ ๑๑ อุปาทานโคจฉกะ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. อุปาทานทุกะ - ธรรมเป็นอุปาทาน - ธรรมไม่เป็นอุปาทาน ๒. อุปาทานิยทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ๓. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน - ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
๔. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ
- ธรรมเป็นอุปาทาน
และเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
- ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทาน
๕. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นอุปาทาน
และสัมปยุตด้วยอุปาทาน
- ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทาน
๖. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุก
- ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
แต่เป็นอารมณ์
- ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
========================
หมวดที่ ๑๒ กิเลสโคจฉกะ มี ๘ ทุกะ คือ
๑. กิเลสทุกะ - ธรรมเป็นกิเลส - ธรรมไม่เป็นกิเลส ๒. สังกิเลสิกทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
๓. สังกิลิฏฐทุกะ
- ธรรมเศร้าหมอง
- ธรรมไม่เศร้าหมอง๔
๔. กิเลสสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส
- ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
๕. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ
- ธรรมเป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส
- ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลส
๖. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ
- ธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมอง
- ธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส
๗. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
- ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลส
๘. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
แต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
- ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
และไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
========================
หมวดที่ ๑๓ ปิฏฐิทุกะ มี ๑๘ ทุกะ คือ
๑. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ
- ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ
- ธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณ
๒. ภาวนายปหาตัพพทุกะ
- ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ
- ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ไม่ประหาณ
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ
- ธรรมมีสัมปยุตต
เหตุอันโสดาปัตติมรรคประหาณ
- ธรรมไม่มีสัมปยุตต
เหตุอันโสดาปัตติมรรคจะประหาณ
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ
- ธรรมมีสัมปยุตต
เหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ
- ธรรมไม่มีสัมปยุตต
เหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ จะประหาณ
๕. สวิตักกทุกะ
- ธรรมมีวิตก
- ธรรมไม่มีวิตก
๖. สวิจารทุกะ
- ธรรมมีวิจาร
- ธรรมไม่มีวิจาร
๗. สัปปืติกทุกะ
- ธรรมมีปีติ
- ธรรมไม่มีปีติ
๘. ปืติสหคตทุกะ
- ธรรมสหรคตด้วยปีติ
- ธรรมไม่สหรคตด้วยปีติ
๙. สุขสหคตทุกะ
- ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา
- ธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนา
๑๐. อุเปกขาสหคตทุกะ
- ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา
- ธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา
๑๑. กามาวจรทุกะ
- ธรรมเป็นกามาวจร
- ธรรมไม่เป็นกามาวจร
๑๒. รูปาวจรทุกะ
- ธรรมเป็นรูปาวจร
- ธรรมไม่เป็นรูปาวจร
๑๓. อรูปาวจรทุกะ
- ธรรมเป็นอรูปาวจร
- ธรรมไม่เป็นอรูปาวจร
๑๔. ปริยาปันนทุกะ
- ธรรมเป็นปริยาปันนะ
- ธรรมเป็นอปริยาปันนะ
๑๕. นิยยานิกทุกะ
- ธรรมเป็นเหตุนำออกจากสังสารวัฏ
- ธรรมไม่เป็นเหตุนำออกจากสังสารวัฏ
๑๖. นิยตทุกะ
- ธรรมให้ผลแน่นอน
- ธรรมให้ผลไม่แน่นอน
๑๗. สอุตตรทุกะ
- ธรรมมีธรรมอื่นยิ่งกว่า
- ธรรมไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
๑๘. สรณทุกะ
- ธรรมเกิดกับกิเลส
- ธรรมไม่เกิดกับกิเลส
อภิธรรมมาติกา ๑๐๐ ทุกะ จบ
๑. สัญโญชนทุกะ-
- ธรรมเป็นสัญโญชน์
- ธรรมไม่เป็นสัญโญชน์
๒. สัญโญชนิยทุกะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
- ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
๓. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
- ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์๔
๔. สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ
- ธรรมเป็นสัญโญชน์
และเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
- ธรรมเป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
แต่ไม่เป็นสัญโญชน์
๕. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นสัมญโญชน์
และสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
- ธรรมสัมปยุตด้วยสัญโญชน์
แต่ไม่เป็นสัญโญชน์
๖. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์
แต่เป็นอารมณ์ของสัญโญชน์
- ธรรมวิปปยุตจากสัญโญชน์
และไม่เป็นอารมณ์ ของสัญโญชน์
============================
หมวดที่ ๕ (คันถะ) มี ๖ ทุกะ คือ ๑. คันถทุกะ - ธรรมเป็นคันถะ - ธรรมไม่เป็นคันถะ ๒. คันถนิยทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ ๓. คันถสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ - ธรรมวิปปยุตจากคันถะ
๔. คันถคันถนิยทุกะ
- ธรรมเป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของคันถะ แต่ไม่เป็นคันถะ
๕. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นคันถะ และสัมปยุตด้วยคันถะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยคันถะ แต่ไม่เป็นคันถะ
๖. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากคันถะ แต่เป็นอารมณ์ของคันถะ
- ธรรมวิปปยุตจากคันถะ
และไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ
=========================
หมวดที่ ๖ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. โอฆทุกะ
- ธรรมเป็นโอฆะ
- ธรรมไม่เป็นโอฆะ
๒. โอฆนิยทุกะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโอฆะ
- ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
๓. โอฆสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโอฆะ
- ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
๔. โอฆโอฆนิยทุกกะ
- ธรรมเป็นโอฆะและเป็นอารมณ์ของโอฆะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโอฆะแต่ไม่เป็นโอฆะ
๕. โอฆโอฆสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นโอฆะ และสัมปยุตด้วยโอฆะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโอฆะ แต่ไม่เป็นโอฆะ
๖. โอฆวิปปยุตตโอฆนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
แต่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
- ธรรมวิปปยุตจากโอฆะ
และไม่เป็นอารมณ์ของโอฆะ
=========================
หมวดที่ ๗ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. โยคทุกะ
- ธรรมเป็นโยคะ
- ธรรมไม่เป็นโยคะ
๒. โยคนิยทุกะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโยคะ
- ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ
๓. โยคสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโยคะ
- ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
๔. โยคโยคนิยทุกะ
- ธรรมเป็นโยคะ และเป็นอารมณ์ของโยคะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของโยคะ แต่ไม่เป็นโยคะ
๕. โยคโยคสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นโยคะ และสัมปยุตด้วยโยคะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยโยคะ แต่ไม่เป็นโยคะ
๖. โยควิปปยุตตโยคนิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
แต่เป็นอารมณ์ของโยคะ
- ธรรมวิปปยุตจากโยคะ
และไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ
=========================
หมวดที่ ๘ นีวรณโคจฉกะ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. นีวรณทุกะ
- ธรรมนิวรณ์ - ธรรมไม่เป็นนิวรณ์ ๒. นีวรณิยทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ ๓. นีวรณสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์ - ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
๔. นีวรณนีวรณิยทุกะ
- ธรรมเป็นนิวรณ์ และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์
- ธรรมเป็นอารมณ์ของนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์
๕. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์
- ธรรมสัมปยุตด้วยนิวรณ์ แต่ไม่เป็นนิวรณ์
๖. นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์
- ธรรมวิปปยุตจากนิวรณ์
และไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์
=========================
หมวดที่ ๙ ปรามาสโคจฉกะ มี ๕ ทุกะ คือ
๑. ปรามาสทุกะ - ธรรมเป็นปรามาสะ (ทิฏฐิ) - ธรรมไม่เป็นปรามาสะ ๒. ปรามัฏฐทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ ๓. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยปรามาสะ - ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
๔. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ
- ธรรมเป็นปรามาสะ และเป็นอารมณ์ของปรามาสะ
- ธรรมเป็นอารมณ์ของปรามาสะ
แต่ไม่เป็นของปรามาสะ
๕. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
แต่เป็นอารมณ์ปรามาสะ
- ธรรมวิปปยุตจากปรามาสะ
และไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสะ
=========================
หมวดที่ ๑๐ มหันตรทุกะ มี ๑๔ ทุกะ คือ
๑. สารัมมณทุกะ - ธรรมมีอารมณ์ - ธรรมไม่มีอารมณ์ ๒. จิตตทุกะ - ธรรมเป็นจิต - ธรรมไม่เป็นจิต
๓. เจตสิกทุกะ - ธรรมเป็นเจตสิก - ธรรมไม่เป็นเจตสิก
๔. จิตตสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยจิต - ธรรมวิปปยุตจากจิต
๕. จิตตสังสัฏฐทุกะ
- ธรรมเจือกับจิต
- ธรรมไม่เจือกับจิต
๖. จิตตสมุฏฐานทุกะ
- ธรรมมีจิตเป็นสมุฏฐาน
- ธรรมไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
๗. จิตตสหภูทุกะ
- ธรรมเกิดร่วมกับจิต
- ธรรมไม่เกิดร่วมกับจิต
๘. จิตตานุปริวัตติทุกะ
- ธรรมเกิดคล้อยตามจิต
- ธรรมไม่เกิดคล้อยตามจิต
๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ
- ธรรมเจือกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน
- ธรรมไม่เจือกับจิตและไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
๑๐. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกะ
- ธรรมเจือกับจิต มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และเกิดร่วมกับจิต
- ธรรมไม่เจือกับจิต ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และไม่เกิดร่วมกับจิต
๑๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ
- ธรรมเจือกับจิตเป็นสมุฏฐาน
และเกิดคล้อยตามจิต
- ธรรมไม่เจือกับจิต ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน และ
ไม่เกิดคล้อยตามจิต
๑๒. อัชฌัตติกทุกะ
- ธรรมเป็นภายใน
- ธรรมเป็นภายนอก
๑๓. อุปาทาทุกะ
- ธรรมอาศัยมหาภูตรูปเกิด
- ธรรมไม่อาศัยมหาภูตรูปเกิด
๑๔. อุปาทินนทุกะ
- ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหา
ทิฏฐิเข้ายึดครอง
- ธรรมอันเจตนากรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหา
ทิฏฐิไม่เข้ายึดครอง
========================
หมวดที่ ๑๑ อุปาทานโคจฉกะ มี ๖ ทุกะ คือ
๑. อุปาทานทุกะ - ธรรมเป็นอุปาทาน - ธรรมไม่เป็นอุปาทาน ๒. อุปาทานิยทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ๓. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ - ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน - ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
๔. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ
- ธรรมเป็นอุปาทาน
และเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
- ธรรมเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทาน
๕. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นอุปาทาน
และสัมปยุตด้วยอุปาทาน
- ธรรมสัมปยุตด้วยอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทาน
๖. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุก
- ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
แต่เป็นอารมณ์
- ธรรมวิปปยุตจากอุปาทาน
และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
========================
หมวดที่ ๑๒ กิเลสโคจฉกะ มี ๘ ทุกะ คือ
๑. กิเลสทุกะ - ธรรมเป็นกิเลส - ธรรมไม่เป็นกิเลส ๒. สังกิเลสิกทุกะ - ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส - ธรรมไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
๓. สังกิลิฏฐทุกะ
- ธรรมเศร้าหมอง
- ธรรมไม่เศร้าหมอง๔
๔. กิเลสสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส
- ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
๕. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ
- ธรรมเป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของสังกิเลส
- ธรรมเป็นอารมณ์ของสังกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลส
๖. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ
- ธรรมเป็นกิเลสและเศร้าหมอง
- ธรรมเศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส
๗. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ
- ธรรมเป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
- ธรรมสัมปยุตด้วยกิเลส แต่ไม่เป็นกิเลส
๘. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ
- ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
แต่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
- ธรรมวิปปยุตจากกิเลส
และไม่เป็นอารมณ์ของสังกิเลส
========================
หมวดที่ ๑๓ ปิฏฐิทุกะ มี ๑๘ ทุกะ คือ
๑. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ
- ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ
- ธรรมอันโสดาปัตติมรรคไม่ประหาณ
๒. ภาวนายปหาตัพพทุกะ
- ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ
- ธรรมอันมรรคเบื้องสูง ๓ ไม่ประหาณ
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ
- ธรรมมีสัมปยุตต
เหตุอันโสดาปัตติมรรคประหาณ
- ธรรมไม่มีสัมปยุตต
เหตุอันโสดาปัตติมรรคจะประหาณ
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ
- ธรรมมีสัมปยุตต
เหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ ประหาณ
- ธรรมไม่มีสัมปยุตต
เหตุอันมรรคเบื้องสูง ๓ จะประหาณ
๕. สวิตักกทุกะ
- ธรรมมีวิตก
- ธรรมไม่มีวิตก
๖. สวิจารทุกะ
- ธรรมมีวิจาร
- ธรรมไม่มีวิจาร
๗. สัปปืติกทุกะ
- ธรรมมีปีติ
- ธรรมไม่มีปีติ
๘. ปืติสหคตทุกะ
- ธรรมสหรคตด้วยปีติ
- ธรรมไม่สหรคตด้วยปีติ
๙. สุขสหคตทุกะ
- ธรรมสหรคตด้วยสุขเวทนา
- ธรรมไม่สหรคตด้วยสุขเวทนา
๑๐. อุเปกขาสหคตทุกะ
- ธรรมสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา
- ธรรมไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา
๑๑. กามาวจรทุกะ
- ธรรมเป็นกามาวจร
- ธรรมไม่เป็นกามาวจร
๑๒. รูปาวจรทุกะ
- ธรรมเป็นรูปาวจร
- ธรรมไม่เป็นรูปาวจร
๑๓. อรูปาวจรทุกะ
- ธรรมเป็นอรูปาวจร
- ธรรมไม่เป็นอรูปาวจร
๑๔. ปริยาปันนทุกะ
- ธรรมเป็นปริยาปันนะ
- ธรรมเป็นอปริยาปันนะ
๑๕. นิยยานิกทุกะ
- ธรรมเป็นเหตุนำออกจากสังสารวัฏ
- ธรรมไม่เป็นเหตุนำออกจากสังสารวัฏ
๑๖. นิยตทุกะ
- ธรรมให้ผลแน่นอน
- ธรรมให้ผลไม่แน่นอน
๑๗. สอุตตรทุกะ
- ธรรมมีธรรมอื่นยิ่งกว่า
- ธรรมไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
๑๘. สรณทุกะ
- ธรรมเกิดกับกิเลส
- ธรรมไม่เกิดกับกิเลส
อภิธรรมมาติกา ๑๐๐ ทุกะ จบ
Comments
Post a Comment